Learning Log 14

Tuesday  14  November 2560

ความรู้ที่ได้รับ



             วันนี้ได้นำเสนอเกี่ยวกับหน่วยที่สอนในโรงเรียน และอาจารย์ได้ให้คำแนะนำในการเขียนรายละเอียดอย่างถูกต้อง เรื่องการวางแผนซึ่งใช้ STEM เข้ามาช่วย โดยอาจารย์ให้คำแนะนำเพื่อไปปรับปรุงดังนี้

                                                                เรื่อง  ไข่


เรื่องโทษของไข่ - ถ้าทานมากเกินไปคอลเรสเตอรอลในร่างกายจะสูง
ข้อควรระวัง  -  ถ้ากินไข่ดิบหรือไม่ผ่านความร้อนอาจจะติดเชื้อได้

                                                            เรื่อง  หมึก



ลักษณะ - สี ขนาด ส่วนประกอบของหมึก
การแพร่พันธ์  - ที่อยู่อาศัย อาหาร การเจริญเติบโต
                    - ซึ่งการเจริญเติบโตจะประกอบไปด้วยการดำรงชีวิต  ที่อยู่อาศัย ในทะเลมี โขดหิน                              -  ปะการัง ดงสาหร่าย
ประโยชน์  ต่อตนเอง - ทำอาหาร
                               -  สร้างอาชีพมีรายได้  
                               - แปรรูป 
                               - มีโอเมกา

                                                                     เรื่อง กล้วย


            หัวข้อถ้าเราจะทำหน่วยเกี่ยวกับเรื่องกล้วย หรือต้นกล้วย เนื้อหาต้องสัมพันธ์กับชื่อหน่วย เพราะกล้วยไม่มีส่วนประกอบของใบ การเขียนหัวข้อที่ถูกต้องเป็นสิ่งสำคัญ

                                                                  เรื่อง  ข้าว


อาจารย์แนะนำเรื่องการเขียน Map ใหม่
1.ชนิด
2.ลักษณะข้าว - เพิ่มส่วนประกอบไปด้วยไม่ต้องทำเป็นหัวข้อใหม่
  รูปทรง บอกคำว่าทรงกลมรี ทรงกลม
  รสชาติ - จืด
  กลิ่น  - เหม็น
3.การดูรักษา - ต้นข้าวต้องการ น้ำ อากาศ แสงแดด ปุ๋ย
                    - การขยายพันธ์  เพาะ ชำ
4.ประโยชน์   - อาหาร คาว หวาน เครื่องดื่ม ได้แก่อะไรบ้าง
                    - วิธีแปรรูป/ถนอมอาหาร
5.ข้อพึงระวัง  - ทานข้าวมากเกินไปเสียงเป็นเบาหวาน
                    - กินข้าวคำน้ำคำทำให้ท้องอืด
                    - การใช้ปุ๋ยเคมีมีผลกระทบต่อการปลูกข้าว

                                                                เรื่อง น้ำ


คุณลักษณะ ให้บอกคุณลักษณะของน้ำเพิ่มไปด้วย เช่น น้ำมีแรงดัน  น้ำไหลลงจากที่สูงลงมาสู่ที่ต่ำ

อาจารย์อธิบายเกี่ยวกับกรอบมาตรฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

มาตรฐานคืออะไร ?
มาตรฐานเป็นเกณฑ์ขั้นต่ำ

1.สิ่งมีชีวิตกับการดำรงชีวิต
- การสำรวจ ลักษณะ  บอกหน้าที่
- การสังเกต การเปรียบเทียบ เช่น  เรื่องน้ำ น้ำสะอาดไม่มีสารตกค้าง
                                                  น้ำสกปรก ถ้าทิ้งน้ำสักพัก จะเห็นการตกตะกอน

2.ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ความสัมพันธ์ของตนเองและสิ่งแวดล้อม - พาเด็กไปดูอควาเลียมที่มีสัตว์ทะเล
                                                                - ไปดูที่ขายหมึก
                                                                - ไปทดลองทำนาจริง
                                                                - ไปดูการปลูกกล้วย
                                                                - ไปดูตลาดขายกล้วย
                                                           - ไปดูการขยายพันธ์เรื่องข้าว  เรื่องอาชีพ

3.สารและสมบัติของสาร
สำรวจทางกายภาพ คือจับต้องได้ เห็น คือลักษณะ
สังเกตการณ์เปลี่ยนแปลง เช่น 
 - การประกอบอาหาร
 - การเพาะขยายพันธุ์ 
 - การทดลอง สูง-ต่ำและแรงดันของน้ำ

4.แรงและการเคลื่อนที่
- สำรวจตรวจสอบเรื่องแรงโน้มถ่วง
- ทดลอง การจม การลอย (ไข่)
- แรงตึงผิดของน้ำ (น้ำ)
- เมื่อข้าวออกรวงข้าวจะโน้มลงมาสู่พื้น (ข้าว)
- การจมการลอย (หมึก)

   แรงกระทำต่อวัตถุ
- ตอกไข่ (ไข่)
- กล้วยปอกแล้วขยำ / หัก / หั่น (กล้วย)
- บดข้าว (ข้าว)
- การเคลื่อนที่ จากสูง-ต่ำ /เมื่อยกเรือขึ้นจากผิวน้ำ น้ำจะไหล (น้ำ)
- บดหมึก (บดหมึก)

5.พลังงาน 
- การฟันข้าว
- การทำข้าวคั่ว (ใช้ความร้อน)
- ลวกหมึก (ใช้ความร้อน)
- กล้วยตาก (พลังงานแสงอาทิตย์)
- น้ำเปลี่ยนเป็นพลังงาน
- ไข่ต้ม (ลังงานความร้อน)/(ต้ม)

6.การเปลี่ยนแปลงของโลก (กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก)
- อากาศมีผลต่อการหาหมึก (ฤดูหนาวกลางคืนยาวกลางวันสั้น/กระทบกับรายได้)
- การคมนาคม (น้ำขึ้นน้ำลง) เป็นปัญหา เช่น น้ำขึ้น เรือใหญ่เดินทางได้ ถน้ำลงเรือใหญ่ไม่สามารถจอดหรือเดินทางได้
- การเปลี่ยนแปลงของฤดูฝน มีผลกระทบต่อการปลูกข้าว
- กล้วย การเกิดเอลนิลโย น้ำท่วม ทำให้ต้นกล้วยเน่า
- ไข่ ปัจจุบันทั่วโลกติดต่อสื่อสารกันง่าย รวดเร็ว มีการค้าขายข้ามทวีป เกิดการขยายพันธ์ของโรค อาจทำให้ไก่เป็นโรครวมไปถึงไข่ คนจึงไม่กินทำให้กระทบกับอาชีพและรายได้

7.ดาราศาสตร์อวกาศ ปรากฎการณ์ทางดาราศาสตร์
- กลางวันกลางคืน มีผลต่อการหาหมึก
- กล้วย ฤดูไหนออกผลได้มาก
- ไข่ หน้าไหน ฤดูไหน ออกไข่ได้มากกว่า

8.เทคโนโลยีธรรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโยโลยี เน้นกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
1.ตั้งประเด็น/คำถาม
2.สมมติฐาน
3.ทดลอง และกระตุ้นให้เด็กสังเกตเพราะเราจะสังเกต
4.สรุปที่ได้จากการสังเกต
5.ย้อนไปดูสมมติฐาน
6.รายงาน

การนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
     ได้เรียนรู้การเขียนรายละเอียดเรื่องหน่วยที่ถูกต้อง ซึ่งทำให้รู้ว่าจะสอนเด็กในเรื่องอะไรและทุกเรื่องจะสัมพันธ์กับกรอบมาตรฐานการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ประเมิน
ตนเอง : เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจทำงานและแสดงความคิดเห็นกับเพื่อน
เพื่อน : เมื่อเกิดข้อสงสัยจะถามอาจารย์ทันที
อาจารย์ : ให้คำแนะนำวิธีการเขียนรายละเอรยดต่างๆเป็นอย่างดี

Vocabulary (คำศัพท์)
1.notice = ข้อควรระวัง
2.Life with the environment  = ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
3.Force and Motion = แรงและการเคลื่อนที่
4.Space Astronomy = ดาราศาสตร์อวกาศ
5.flood = อุทกภัย


    Today I presented about topics taught at school include ; Egg ,Octopus ,ฺBanana Tree ,Rice and Water.The teacher has given instructions to write the details correctly and planning by using STEM, The teacher gives advice to improve.
     Finally, my teacher talked about the science learning framework because she need us understand that when we are teacher what do we need to teach ? .Science learning framework  it is important that we need to know.  

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น