Research

สรุปวิจัยเรื่อง  ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมการทดลองหลัง                          การฟงนิทาน ปริญญานิพนธ ของ ศศิพรรณ สําแดงเดช เสนอตอบัณฑิตวิทยาลัย                                  มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ พฤษภาคม 2553

จุดมุ่งหมาย   เพื่อเปรียบเทียบทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ ของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรม การทดลองหลังการฟงนิทาน กอนและหลังการทดลอง

ความสำคัญ   เปนแนวทางใหกับครูและผูที่เกี่่ยวของกับการศึกษา ปฐมวัยได้ตระหนัก และเขาใจถึงความสําคัญในการสงเสริมทักษะพื้นฐานทางวิยาศาสตร์ให้กับเด็ก ปฐมวัยด้วยการทำกิจกรรมการทดลองหลังการฟงนิทาน

ขอบเขตของการวิจัย
ประชากร  เด็กชาย-หญิง อายุระหวาง 5-6 ปที่กําลัง ศึกษาอยู่ในชั้นในชั้นอนุบาลปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2552 ของโรงเรียนวัดไทร (ถาวรพรหมานุกูล) สํานักงานเขตจอมทอง สังกัดกรุงเทพมหานครจํานวน 5 หองเรียน จํานวน 175 คน
กลุ่มตัวอย่าง  เด็กปฐมวัย ชาย-หญิง อายุระหวาง 5-6 ป ที่กําลังศึกษาอยูชั้นอนุบาลปที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2552 โรงเรียนวัดไทร (ถาวรพรหมานุกูล) สํานักงานเขตจอมทอง สังกัดกรุงเทพมหานคร จํานวน 30 คนโดยผูวิจัยทําการทดสอบเด็กดวย แบบทดสอบทักษะพื้นฐานวิทยาศาสตร์ที่ผูวิจัยสรางขึ้น เพื่อคัดเลือกเด็กปฐมวัยจานวน ํ 15 คน ที่มีคะแนนทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ 15 อันดับสุดทาย กําหนดเปนกลุมทดลอง

ตัวแปรที่ศึกษา
ตัวแปรตน ไดแก การไดรับการจัดกิจกรรมการทดลองหลังการฟงนิทาน  
ตัวแปรตาม ไดแก ทักษะพื้นฐานทางวิทยาศาสตร 

ระยะเวลาในการทดลอง
การวิจัยครั้งนี้ดำเนินการทดลองในภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2551 ทําการทดลองเปนเวลา 8 สัปดาหสัปดาหละ 3 วัน วันละ 1 ครั้ง ครั้งละ 30 นาทีทําการทดลองในชวงเวลา 08.30 – 09.00 น. รวม 24 ครั้ง






ตัวอย่างแผนการสอน



แบบทดสอบการสังเกต




แบบทดสอบการจำแนก


แบบทดสอบการสื่อสาร


ตัวอยางภาพกิจกรรมการดําเนินกิจกรรมการทดลองหลังการฟงนิทาน



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น